วันจันทร์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2554

ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์สังเคราะห์

คลิกที่รูป เพื่อเอาโค้ดรูปนี้ไปแปะ





พลาสติก  โดยปรับปรุงให้คุณสมบัติดีขึ้น เช่น เติมสี เติมใยแก้วเพื่อความแข็งแรง เติมผงกราไฟต์
ประโยชน์

ด้านการแพทย์
-          พอลิไวนิลคลอไรด์ ผลิตถุงใส่เลือด


-          พอลิสไตรีน ทำหลอดฉีดยา

-          พอลิโพรพิลีน  ทำกระดูกเทียม เอ็นเย็บแผล

-          พอลิเอทิลีน  ทำฟันปลอม

ด้านการเกษตร

PVC  นำมาคลุมดิน เพื่อรักษาความชุ่มชื้นของดิน


             

โฟม 
 เป็นพลาสติกที่ผ่านกระบวนการเติมแก็ส ทำให้เกิดฟองอากาศจำนวนมากแทรกอยู่ระหว่างเนื้อพลาสติก เป็นฉนวนความร้อนและไฟฟ้าที่ดีมาก ในอดีตจะมีสาร CFC แทรกอยู่ในโฟม ก่อให้เกิดปรากฎการณ์เรือนกระจก ในปัจจุบันสามารถผลิดโฟมได้จาก PVC พอลิเอทิลีน และ พอลิสไตรีน






 ที่มา



ภาวะมลพิษที่เกิดจากการผลิตและการใช้ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเคมี

คลิกที่รูป เพื่อเอาโค้ดรูปนี้ไปแปะ



มลพิษทางอากาศ
1.  แก็ส CO  เกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิง หายใจเข้าไปรวมกับฮีโมโกลบิน ทำให้เม็ดเลือดแดงไม่สามารถรับออกซิเจนได้ตามปกติ อันตรายมากในคนและสัตว์



2. แก็ส SO2 เกิดจากการเน่าเปื่อยของสิ่งมีชีวิต อันตรายมากสำหรับสิ่งก่อสร้าง
3.แก็ส NO , NO2 เกิดจากการสันดาปเชื้อเพลิงที่มีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ อันตรายมากสำหรับพืช
4. แก็ส CO2 เกิดจากการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงทุกชนิด เป็นสาเหตุของปรากฏการณ์เรือนกระจก
5. CFC ใช้ทำความเย็นในตู้เย็น เครื่องปรับอากาศใช้เวลานานมากในการสลายตัวและยังเป็นสาร
    ที่ทำลายโอโซนในชั้นบรรยากาศ เกิดปรากฎการณ์เรือนกระจก



มลพิษทางน้ำ
 การบอกคุณภาพน้ำ
         1. DO    คือปริมาณออกซิเจนในน้ำ ควรมีไม่น้อยกว่า 3 กรัม/ลิตร

         2. BOD  คือปริมาณออกซิเจนที่แบคทีเรียใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ในน้ำ

         3. COD  คือปริมาณออกซิเจนที่สารเคมีใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ในน้ำ


1.  น้ำมัน  เป็นฟิลม์กันไม่ให้ออกซิเจนละลายลงไปในน้ำ ทำให้ขาดออกซิเจน


         2.   ฟอสเฟต  ทำให้พืชน้ำเจริญงอกงามอย่างรวดเร็ว เมื่อพืชน้ำตายจุลินทรีย์ในน้ำจะต้องใช้ออกซิเจนจำนวนมาก เพื่อย่อยสลายซากพืช ทำให้ออกซิเจนในน้ำลดลง น้ำจึงเน่า
มลพิษทางดิน  เกิดจากสารตกค้างในดิน เช่น พลาสติกเป็นส่วนใหญ่ ปัจจุบันจึงมีวิธีการกำจัดพลาสติก โดย
                                    1. ใช้ปฏิกิริยาทางชีวเคมี
2. ใช้สมบัติในการละลายน้ำ
3. ใช้แสงแดด
4. ใช้ความร้อน
5. นำกลับมาใช้ใหม่



ที่มาhttp://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/science04/24/files/page08_4.html